วันเสาร์ที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2550

สวัสดีปีใหม่จ้า...




ปีใหม่แล้วนะจ๊ะ

อะไรที่ไมดีก็ทิ้งมันไป

จดจำแต่สิ่งที่ดี-ดีละกันนะ

มีความสุขมากๆกันทุกคนเลยนะจ๊ะ

French New Year - Le Jour de l'An

In France, New Year's Eve (31 December) is called la Saint-Sylvestre,* and is usually celebrated with a feast, called le Réveillon de Saint-Sylvestre. The feast tends to include special items like champagne and foie gras, and the accompanying party can range from an intimate dinner with friends to une soirée dansante (ball).At midnight, everyone kisses under the mistletoe** and offers their best wishes for the new year.On New Year's Day, le Jour de l'An, friends and family share their New Year's resolutions and may also exchange cards and gifts.


le Jour de l'An

En France, on organise un dîner de fête avec, entre autres, du champagne et du foie gras. Il peut s'agir d'un simple dîner entre amis ou d'une soirée dansante. Le jour de l'an, les familles et les amis échangent les vœux du nouvel An, prennent de bonnes résolutions et parfois échangent quelques cadeaux (les étrennes). À minuit, on se souhaite traditionnellement une bonne année en s'embrassant sous le gui, puis on va dans la rue en criant « Bonne année ! » et en faisant beaucoup de bruit (trompette, klaxon, etc.). La Saint-Sylvestre est également l'occasion donnée au Président de la République française de transmettre ses vœux présidentiels en diffusion différée à 20 heures sur les principales télévisions françaises depuis le palais de l'Élysée.
La période des fêtes se termine le 6 janvier avec l'
Épiphanie. Ce jour-là on partage traditionnellement la galette des Rois.

French New Year's Vocabulary

Bonne Année ! Happy New Year!
les étrennes New Year's gifts
le gui mistletoe
le Jour de l'An New Year's Day
la Saint-Sylvestre New Year's Eve


Chanson du nouvel An - French New Year's Song

Encore une autre année qui se termineChacun de nous lui fait tout ses adieuxPour disparaître on la voit qui s'inclineElle semble dire « Enfant soyez heureuxUn an nouveau déjà a pris ma placeEmbrassez-le avec beaucoup d'amour
Ce temps joyeux toujours trop vite passeCar lui aussi disparaîtra un jourAinsi s'en vont les années de la vieEn nous laissant toujours un souvenirDe nous quitter elle nous semble meurtrieCar jamais elle ne pourra revenir.
Douze autre mois passerons sur le mondeJanvier était le mois le plus rigoureuxFévrier est long comme une secondeMars avril mai juin pour les amoureuxJuillet août septembre octobre et novembreSont la deuxième partie de l'année.
Passons enfin au beau mois de décembreC'est avec lui qu'un dieu nous est donnéFaits de tout coeur qu'à chacun je présenteMes meilleurs voeux de bonheur et de santéQue cette année soit des plus éclatanteQu'elle vous apporte la prospérité.

วันอาทิตย์ที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550

เตรียมต้อนรับ




Noël est une fête chrétienne célébrant chaque année la naissance de Jésus de Nazareth, appelée Nativité. Cette fête donne lieu à des offices religieux spéciaux et à des échanges de cadeaux et de vœux. Dans l'année 354, Noël a été fixé officiellement au 25 décembre par le pape Libère. Parce que la plupart des Églises orthodoxes suivent toujours le calendrier julien qui présente un décalage de quatorze jours avec le calendrier grégorien désormais en usage officiellement, elles célèbrent Noël le 7 janvier du calendrier grégorien (c’est-à-dire le 25 décembre du calendrier julien). La popularité de la fête a fait que « Noël » est devenu aussi un prénom porté.

Christmas is an annual holiday that celebrates the birth of Jesus. It refers both to the day celebrating the birth; as well as to the season which that day inaugerates, and which concludes with the Feast of the Epiphany. The date of the celebration is traditional, and is not considered to be his actual date of birth. Christmas festivities often combine the commemoration of Jesus' birth with various cultural customs, many of which have been influenced by earlier winter festivals.
In most places around the world, Christmas Day is celebrated on December 25. Christmas Eve is the preceding day, December 24. In the United Kingdom and many countries of the Commonwealth, Boxing Day is the following day, December 26. In Catholic countries, Saint Stephen's Day or the Feast of St. Stephen is December 26. The Armenian Apostolic Church observes Christmas on January 6. Eastern Orthodox Churches that still use the Julian Calendar celebrate Christmas on the Julian version of 25 December, which is January 7 on the more widely used Gregorian calendar, because the two calendars are now 13 days apart.
The word Christmas originated as a contraction of "Christ's mass". It is derived from the Middle English Christemasse and Old English Cristes mæsse, a phrase first recorded in 1038, compounded from Old English derivatives of the Greek christos and the Latin missa.[1] In early Greek versions of the New Testament, the letter Χ (chi), is the first letter of Christ. Since the mid-16th century Χ, or the similar Roman letter X, was used as an abbreviation for Christ.[2] Hence, Xmas is often used as an abbreviation for Christmas.
After the conversion of Anglo-Saxon Britain in the very early 7th century, Christmas was referred to as geol,[1] the name of the pre-Christian solstice festival from which the current English word 'Yule' is derived.[3]
The prominence of Christmas Day increased gradually after Charlemagne was crowned on Christmas Day in 800. Around the 12th century, the remnants of the former Saturnalian traditions of the Romans were transferred to the Twelve Days of Christmas (26 December6 January). Christmas during the Middle Ages was a public festival, incorporating ivy, holly, and other evergreens, as well as gift-giving.
Modern traditions have come to include the display of Nativity scenes, Holly and Christmas trees, the exchange of gifts and cards, and the arrival of Father Christmas or Santa Claus on Christmas Eve or Christmas morning. Popular Christmas themes include the promotion of goodwill and peace.




คำว่า คริสต์มาส ภาษาอังกฤษเขียนว่า Christmas ดังนั้นอย่าลืม "ต์" อยู่ที่คำว่า คริสต์ (Christ) ไม่ใช่คำว่า "มาส" (Mas) Christmas มาจากภาษาอังกฤษโบราณว่า Christes Maesse แปลว่า บูชามิสซาของพระคริสตเจ้า โดยพบคำนี้ครั้งแรกในเอกสารโบราณในปี ค.ศ.1038 ภายหลังแปรเปลี่ยนมาเป็นคำว่า Christmas ประวัติความเป็นมาของวันคริต์มาส ซึ่งเป็นวันเกิดของพระเยซูนั้น ตามหลักฐานในพระคัมภีร์บันทึกไว้ว่า พระเยซูเจ้าประสูติในสมัยที่จักรพรรดิซีซ่าร์ ออกัสตัส แห่งโรมัน ซึ่งทรงสั่งให้จดทะเบียนสำมะโนครัวทั่วทั้งแผ่นดิน โดยฝ่ายคีรีนิอัส เจ้าเมืองซีเรียก็ขานรับนโยบาย อย่างไรก็ตามในพระคัมภีร์ ไม่ได้ระบุว่า พระเยซูประสูติวันหรือเดือนอะไร ด้านนักประวัติศาสตร์วิเคราะห์ว่า เดิมทีวันที่ 25 ธันวาคม เป็นวันที่จักรพรรดิเอาเรเลียนแห่งโรมัน กำหนดให้เป็นวันฉลองวันเกิดของสุริยเทพ โดยตั้งแต่ปีค.ศ.274 ชาวโรมันซึ่งส่วนใหญ่นับถือเทพเจ้าฉลองวันนี้เสมือนว่า เป็นวันฉลองของพระจักรพรรดิไปในตัวด้วย เพราะจักรพรรดิก็เปรียบเสมือนดวงอาทิตย์ ที่ให้ความสว่างแก่ชีวิตมนุษย์ แต่ชาวคริสต์ที่อยู่ในจักรวรรดิโรมัน รวมถึงชาวโรมันที่เปลี่ยนไปนับถือคริสต์อึดอัดใจที่จะฉลองวันเกิดของสุริยเทพ จึงหันมาฉลองการบังเกิดของพระเยซูเจ้าแทน หลังจากที่ชาวคริสต์ถูกควบคุมเสรีภาพทางศาสนาตั้งแต่ปีค.ศ.64-313 จนถึงวันที่ 25 ธันวาคม ปีค.ศ.330 ชาวคริสต์จึงเริ่มฉลองคริสต์มาสอย่างเป็นทางการและเปิดเผย สำหรับองค์ประกอบในงานฉลองวันคริสต์มาสมีความเป็นมาเช่นกัน เริ่มที่คำอวยพรว่า Merry Christmas สุขสันต์วันคริสต์มาส คำว่า Merry ในภาษาอังกฤษโบราณ แปลว่า สันติสุขและความสงบทางใจ จึงเป็นคำที่ใช้อวยพรคนอื่น ขอให้เขาได้รับสันติสุข และความสงบทางใจ เนื่องในโอกาสเทศกาลคริสต์มาส ต่อมาคือ "เพลง" ที่ใช้เฉลิมฉลองทั้งจังหวะช้าและจังหวะสนุกสนาน ส่วนใหญ่แต่งในยุคพระราชินีวิกตอเรียแห่งอังกฤษ (ค.ศ.1840-1900) ปัจจุบันแพร่หลายไปทั่วโลกโดยแปลเป็นภาษาต่างๆ มากมาย สำหรับ "ซานตาคลอส" เซนต์นิโคลัสแห่งเมืองมีรา สมัยศตวรรษที่ 4 ได้รับการขนานนามให้เป็นซานตาคลอสคนแรก เพราะวันหนึ่งท่านปีนขึ้นไปบนหลังคาบ้านของเด็กหญิงยากจนคนหนึ่งแล้วทิ้งถุงเงินลงไปทางปล่องไฟ บังเอิญถุงเงินหล่นไปทางถุงเท้าที่เด็กหญิงแขวนตากไว้ข้างเตาผิงพอดี ปิดท้ายที่ต้นคริสต์มาส หรือต้นสนที่นำมาประดับประดาด้วยดวงไฟหลากสีสัน ต้องย้อนไปศตวรรษที่ 8 เมื่อเซนต์บอนิเฟส มิชชันนารีชาวอังกฤษที่เดินทางไปประกาศเรื่องพระเจ้าในเยอรมนี ได้ช่วยเด็กที่กำลังจะถูกฆ่าเป็นเครื่องสังเวยบูชาที่ใต้ต้นโอ๊ก โดยเมื่อโค่นต้นโอ๊กทิ้งก็ได้พบต้นสนเล็กๆ ต้นหนึ่งขึ้นอยู่โคนต้นโอ๊ก ท่านจึงขุดให้คนที่ร่วมพิธีกรรมเหล่านั้นเพื่อเป็นสัญลักษณ์ของชีวิต และตั้งชื่อว่า ต้นกุมารพระคริสต์ ต่อมามาร์ติน ลูเธอร์ ผู้นำคริสตจักรชาวเยอรมัน ตัดต้นสนไปตั้งในบ้านในเดือนธันวาคม ปีค.ศ.1540 หลังจากนั้นในศตวรรษที่ 19 ต้นคริสต์มาสจึงเริ่มแพร่ไปสู่ประเทศอังกฤษและทั่วโลก คริสต์มาส คือการฉลองการบังเกิดของพระเยซูเจ้า เราเฉลิมฉลองกันในวันที่ 25 ธันวาคม คำว่า คริสต์มาส เป็นคำทับศัพท์ภาษาอังกฤษ Christmas ซึ่งมาจากภาษาอังกฤษโบราณว่า Christes Maesse ที่แปลว่า บูชามิสซาของพระคริสตเจ้า เพราะการร่วมพิธีมิสซา เป็นประเพณี สำคัญที่สุด ที่ชาวคริสต์ถือปฎิบัติกันในวันคริสต์มาส คำว่า Christes Maesse พบครั้งแรกในเอกสาร โบราณ เป็นภาษาอังกฤษ ในปี ค.ศ. 1038 และคำนี้ก็แปรเปลี่ยนมาเป็นคำว่า Christmas คำทักทายที่เราได้ฟังบ่อย ๆ ในเทศกาลนี้คือ Merry Christmas คำว่า Merry ในภาษาอังกฤษโบราณ แปลว่า สันติสุขและความสงบทางใจ เพราะฉะนั้น คำนี้จึงเป็นคำที่ใช้อวยพร คนอื่น ขอให้เขาได้รับสันติสุข และความสงบทางใจ เนื่องในโอกาสเทศกาลคริสต์มาส

วันเสาร์ที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2550

Le palais de Versailles




Caractéristiques
Au début de sa construction, Versailles n’était qu’un pavillon de chasse de 24 m de long et il avait la forme d’un U. Plus tard, Louis XIV ajouta deux ailes mais le centre garda sa forme. Les écuries se trouvent maintenant au sud du palais, et les cuisines, au nord. L’Opéra se situe à l’extrémité ouest de l’aile nord. On aperçoit de la cour le chevet de la chapelle. Celle-ci est verticale et a un style gothique. Le château de Versailles mesure 45 m de haut et 610 m de large. Il occupe 25 hectares de terrain. La Galerie des Glaces est la pièce la plus grande du palais de Versailles. Elle mesure 73 m de long et 13 m de haut. Versailles ne comprend que trois étages. Il comporte plusieurs salles dont le salon d’Hercule qui a été construit en 1712. Il y a aussi la galerie des batailles, la Grande Galerie du Louvre, le salon de la Guerre, le salon de la Paix et le salon du Sacre. Au rez-de-chaussée, il y a la Chapelle Royale, l’Opéra Royal et les appartements de madame Victoire, ceux de madame Adélaïde et plusieurs autres.
Historique
Le palais de Versailles a déjà été la résidence officielle des rois de France pendant plus de 100 ans. Il a commencé comme petit pavillon de chasse royale construit pour Louis XIII en 1623. Son fils, Louis XIV, a décidé, en 1660, de reconstruire et de développer le château qui est alors devenu la résidence la plus splendide d’Europe. Né en 1639, Louis XVI régna sur la France jusqu’à sa mort en 1715. Il avait seulement 5 ans quand il est devenu roi de France après la mort de son père, Louis XIII. En 1662, le roi de France a chargé Louis le Vau et André le Nôtre (le jardinier) de créer un palais superbe qui fournissait un endroit convenable pour les cérémonies de la justice royale. En 1678, il y a eu une nouvelle campagne d’agrandissement. Les travaux ont été conçus par l’architecte Jules Hardoin-Mansart: entre 1678 et 1684, il construisit la Galerie des Glaces. Entre 1678 et 1682, il bâtit l’Aile du Midi. En 1684, il a conçu l’Orangerie. Entre 1685 et 1689, il construisit l’Aile du Nord. Pendant le processus de la construction, mille travailleurs sont morts à cause de la fièvre et de la pneumonie. Le palais de Versailles a été construit pour le rois Louis XIV, mais il a aussi servi à loger les 25 000 personnes qui se déplaçaient à Versailles pour la justice royale.
Géographie
Le palais de Versailles se trouve en Europe, en France, plus précisément à 15 km au Sud-Ouest de Paris, au coeur de la ville de Versailles.

วันเสาร์ที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2550

เป็นห่วงนะ


ช่วงนี้...อากาศก็เริ่มเย็นขึ้นเรื่อยๆนะ
ทุกคน...ดูแลตัวเองดี-ดีด้วย
ช่วงนี้...กิจกรรมเยอะ
อย่าลืม...ตั้งใจเรียนกันด้วย

THE KING




พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช เสด็จพระราชสมภพ ณ โรงพยาบาลเมานท์ ออเบิร์น เมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสสาชูเซสท์ ประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อวันจันทร์ ขึ้น ๑๒ ค่ำ เดือนอ้าย ปีเถาะ จุลศักราช ๑๒๘๙ ตรงกับวันที่ ๕ ธันวาคม ๒๔๗๐ มีพระนามเดิมว่า พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภูมิพลอดุลยเดช เป็นพระราชโอรสพระองค์เล็กในสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมหลวงสงขลานครินทร์ (พระราชโอรส ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า) และสมเด็จพระราชชนนีศรีสังวาลย์ ซึ่งภายหลังทั้งสองพระองค์ได้รับการเฉลิมพระนามาภิไธย เป็นสมเด็จพระมหิตลาธิเบศรอดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก และสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี มีพระเชษฐภคินีและพระเชษฐา คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา ประสูติเมื่อวันที่ ๖ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๔๖๖ ณ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ กับพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ ๒๐ กันยายน พุทธศักราช ๒๔๖๘ ณ เมืองไฮเดลเบิร์ก ประเทศเยอรมนี
เมื่อพุทธศักราช ๒๔๗๑ ได้โดยเสด็จสมเด็จพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตร์บัณฑิตเกียรตินิยม จากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ประเทศสหรัฐอเมริกา เสด็จกลับประเทศไทย ประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาในวันที่ ๒๔ กันยายน พุทธศักราช ๒๔๗๒ สมเด็จพระบรมราชชนกทิวงคต ขณะนั้นพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลปัจจุบัน ทรงเจริญพระชนมายุได้ไม่ถึงสองพรรษา และเมื่อมีพระชนมายุได้ ๕ พรรษา ได้เสด็จเข้ารับการศึกษาชั้นต้น ณ โรงเรียนมาแตร์ เดอี กรุงเทพฯ จนถึงพุทธศักราช ๒๔๗๖ จึงเสด็จไปประทับ ณ เมืองโลซานน์ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี พระเชษฐภคินีและพระเชษฐา เพื่อทรงศึกษาต่อในชั้นประถมศึกษา ในโรงเรียนเมียร์มองต์ ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมันและภาษาอังกฤษ จากนั้นทรงเข้าศึกษาชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอล นูแวล เดอ ลา ชืออิส โรมองต์ เมืองแชลลี ชือ โลซานน์ ทรงได้รับประกาศนียบัตรทางอักษรศาสตร์จาก ยิมนาส กลาชีค กังโดนาล แห่งเมืองโลซานน์ แล้วทรงเข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยโลซานน์ โดยทรงเลือกศึกษาในแขนงวิชาวิศวกรรมศาสตร์
ในพุทธศักราช ๒๔๗๗ พระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าอานันทมหิดล เสด็จขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์ รัชกาลที่ ๘ แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ พระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าภูมิพลอดุลยเดช จึงทรงได้รับการสถาปนาขึ้นเป็น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช เมื่อพุทธศักราช ๒๔๗๘ และได้โดยเสด็จพระราชดำเนิน สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล นิวัติประเทศไทยเป็นครั้งแรก ในพุทธ>ศักราช ๒๔๘๑ โดยประทับ ณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต เป็นการชั่วคราว แล้วเสด็จกลับไปประเทศสวิตเซอร์แลนด์ จนถึงพุทธศักราช ๒๔๘๘ จึงโดยเสด็จพระราชดำเนิน สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล นิวัติประเทศไทยเป็นครั้งที่สอง ครั้งนี้ประทับ ณ พระที่นั่งบรมพิมาน ในพระบรมมหาราชวัง
ในวันที่ ๙ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๔๘๙ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล เสด็จสวรรคตโดยกระทันหัน ณ พระที่นั่งบรมพิมาน ในพระบรมมหาราชวัง สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช จึงเสด็จขึ้นครองราชสมบัติสืบราชสันตติวงศ์ในวันเดียวกันนั้น แต่เนื่องจากยังทรงมีพระราชภารกิจด้านการศึกษา จึงต้องทรงอำลาประชาชนชาวไทย เสด็จพระราชดำเนินกลับไปยังประเทศสวิตเซอร์แลนด์อีกครั้งหนึ่ง ในเดือนสิงหาคม พุทธศักราช ๒๔๘๙ เพื่อทรงศึกษาต่อ ณ มหาวิทยาลัยแห่งเดิม ในครั้งนี้ ทรงเลือกศึกษาวิชากฎหมายและวิชารัฐศาสตร์ แทนวิชาวิศวกรรมศาสตร์ที่ทรงศึกษาอยู่เดิม
ระหว่างที่ประทับศึกษาอยู่ในต่างประเทศนั้น ทรงพบกับหม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากร ธิดาในพระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ (พระนามเดิม หม่อมเจ้านักขัตรมงคล กิติยากร พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาพระอิสริยยศ ขึ้นเป็น พระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้านักขัตรมงคล เมื่อพุทธศักราช ๒๔๙๓ และในพุทธศักราช ๒๔๙๕ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาขึ้นเป็นพระองค์เจ้าต่างกรม มีพระนามว่าพระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ) และหม่อมหลวงบัว (สนิทวงศ์) กิติยากร ต่อมาทรงหมั้นกับหม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากร ในวันที่ ๑๙ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๔๙๒ ณ เมืองโลซานน์ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์
ในพุทธศักราช ๒๔๙๓ เสด็จพระราชดำเนินนิวัติพระนคร ประทับ ณ พระที่นั่งอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งการพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล ในเดือนมีนาคม พุทธศักราช ๒๔๙๓ ต่อมาในวันที่ ๒๘ เมษายน ปีเดียวกัน ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดการพระราชพิธีราชาภิเษกสมรสกับหม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากร ณ พระตำหนักสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า ในวังสระปทุม ซึ่งในการพระราชพิธีราชาภิเษกสมรสนี้ มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาหม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากร ขึ้นเป็น สมเด็จพระราชินีสิริกิติ์
ในวันที่ ๕ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๔๙๓ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งการพระราชพิธีบรมราชาภิเษกตามแบบอย่างโบราณราชประเพณีขึ้น ณ พระที่นั่งไพศาลทักษิณ ในพระบรมมหาราชวัง เฉลิมพระบรมนามาภิไธย ตามที่จารึกในพระสุพรรณบัฏว่า พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศร รามาธิบดี จักรนฤบดินทร สยามมินทราธิราช บรมนาถบพิตร พร้อมทั้งพระราชทานพระปฐมบรมราชโองการว่า เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม และในโอกาสนี้ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาเฉลิมพระเกียรติยศสมเด็จพระราชินีสิริกิติ์ ขึ้นเป็น สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี
หลังจากเสร็จการพระราชพิธีบรมราชาภิเษกแล้ว ได้เสด็จพระราชดำเนินไปทรงรักษาสุขภาพ ณ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ตามที่คณะแพทย์ได้ถวายคำแนะนำ และระหว่างที่ประทับรักษาพระองค์อยู่นั้น สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี มีพระประสูติกาลพระราชธิดาพระองค์แรก คือ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ซึ่งประสูติ ณ โรงพยาบาลมองซัวซีส์ เมืองโลซานน์ เมื่อวันที่ ๔ เมษายน พุทธศักราช ๒๔๙๔ และเมื่อสมเด็จพระเจ้าลูกเธอพระองค์แรกเจริญพระชันษาได้ ๗ เดือน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จพระราชดำเนินนิวัติพระนคร ประทับ ณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต จากนั้นทรงย้ายที่ประทับไปประทับ ณ พระที่นั่งอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต และที่พระที่นั่งอัมพรสถานนี้เอง สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี มีพระประสูติกาลพระราชโอรสและพระราชธิดาอีกสามพระองค์ คือ
สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฏราชกุมาร เสด็จพระราชสมภพ เมื่อวันที่ ๒๘ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๔๙๕
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เจ้าฟ้ามหาจักรีสิรินธร รัฐสีมาคุณากรปิยชาติ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชสมภพ เมื่อวันที่ ๒ เมษายน ๒๔๙๘
สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ประสูติ เมื่อวันที่ ๔ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๐๐
ในพุทธศักราช ๒๔๙๙ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชศรัทธาที่จะทรงผนวช ด้วยทรงพระราชดำริว่า พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ ที่ประชาชนของพระองค์เลื่อมใสกันอยู่เป็นจำนวนมาก ยิ่งทรงมีโอกาสคุ้นเคยกับหลักการและทางปฏิบัติของพุทธศาสนิกชน ระหว่างที่ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจ ก็ทรงมีพระราชศรัทธายิ่งขึ้น เพราะได้ประจักษ์แก่พระราชหฤทัยว่า ธรรมคำสั่งสอนของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ประกอบด้วยเหตุผลและสัจจธรรม แม้ผู้ใดจะวิจารณ์ด้วยหลักวิทยาศาสตร์ ก็จะไม่เสื่อมถอยในความนิยมเชื่อถือ ทั้งจักเป็นทางสนองพระเดชพระคุณพระราชบูรพการีตามคตินิยมอีกโสตหนึ่งด้วย จึงได้เสด็จออกทรงผนวช ณ พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ในพระบรมมหาราชวัง เมื่อวันที่ ๒๒ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๔๙๙ เสร็จการพระราชพิธีทรงผนวชแล้ว เสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ พระตำหนักปั้นหยา วัดบวรนิเวศวิหาร โดยมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี เป็นผู้สำเร็จราชการทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจแทนพระองค์ตลอดเวลา ๑๕ วันที่ทรงผนวชอยู่ และจากการที่สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจในตำแหน่งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ได้อย่างเรียบร้อย เป็นที่พอพระราชหฤทัย จึงมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ สถาปนาขึ้นเป็น สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในปีเดียวกันนั้นเอง และในพุทธศักราช ๒๕๐๐ ทรงย้ายที่ประทับจากพระที่นั่งอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต ไปประทับที่พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต จนถึงปัจจุบัน

วันศุกร์ที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550

ทรงพระเจริญ






วันที่ : 8 พ.ย. 2550
ในหลวงทรงมีพระพักตร์สดชื่นแจ่มใส ฉลองพระองค์สูทสีชมพู เสด็จฯออกจากรพ.กลับพระตำหนักจิตรลดารโหฐาน ท่ามกลางการเข้าเฝ้าฯส่งเสด็จของพสกนิกรไทยทั้งในรพ.-ตลอดสองข้างทาง พร้อมเปล่งเสียงทรงพระเจริญ-เพลงสดุดีมหาราชาดังลั่นทั่วบริเวณ เผย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงประทับรถเข็นพระที่นั่งลงจากตึกแล้วพระดำเนินด้วยเครื่องช่วยพยุงไปสักการะวางพวงพระมาลัยพระราชานุสาวรีย์พระบรมราชชนก-ชนนี พร้อมทรงถ่ายภาพประวัติศาสตร์ที่ประชาชนมาแสดงความจงรักภักดี ขณะที่พสกนิกรต่างปลื้มปีติภาพพ่อหลวงทรงแย้มพระโอษฐ์-โบกพระหัตถ์ให้ ส่วนพระอาการพระพี่นางฯ คงที่ คณะแพทย์ยังดูพระอาการอย่างใกล้ชิด

วันพฤหัสบดีที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2550

เตรียมต้อนรับเทศกาลฮาโลวีน








Halloween---The History and Customs of Halloween

Halloween is an annual celebration, but just what is it actually a celebration of? And how did this peculiar custom originate? Is it, as some claim, a kind of demon worship? Or is it just a harmless vestige of some ancient pagan ritual?
The word itself, "Halloween," actually has its origins in the Catholic Church. It comes from a contracted corruption of All Hallows Eve. November 1, "All Hollows Day" (or "All Saints Day"), is a Catholic day of observance in honor of saints. But, in the 5th century BC, in Celtic Ireland, summer officially ended on October 31. The holiday was called Samhain (sow-en), the Celtic New year.
One story says that, on that day, the disembodied spirits of all those who had died throughout the preceding year would come back in search of living bodies to possess for the next year. It was believed to be their only hope for the afterlife. The Celts believed all laws of space and time were suspended during this time, allowing the spirit world to intermingle with the living.
Naturally, the still-living did not want to be possessed. So on the night of October 31, villagers would extinguish the fires in their homes, to make them cold and undesirable. They would then dress up in all manner of ghoulish costumes and noisily paraded around the neighborhood, being as destructive as possible in order to frighten away spirits looking for bodies to possess.
Probably a better explanation of why the Celts extinguished their fires was not to discourage spirit possession, but so that all the Celtic tribes could relight their fires from a common source, the Druidic fire that was kept burning in the Middle of Ireland, at Usinach.
Some accounts tell of how the Celts would burn someone at the stake who was thought to have already been possessed, as sort of a lesson to the spirits. Other accounts of Celtic history debunk these stories as myth.
The Romans adopted the Celtic practices as their own. But in the first century AD, Samhain was assimilated into celebrations of some of the other Roman traditions that took place in October, such as their day to honor Pomona, the Roman goddess of fruit and trees. The symbol of Pomona is the apple, which might explain the origin of our modern tradition of bobbing for apples on Halloween.
The thrust of the practices also changed over time to become more ritualized. As belief in spirit possession waned, the practice of dressing up like hobgoblins, ghosts, and witches took on a more ceremonial role.
The custom of Halloween was brought to America in the 1840's by Irish immigrants fleeing their country's potato famine. At that time, the favorite pranks in New England included tipping over outhouses and unhinging fence gates.
The custom of trick-or-treating is thought to have originated not with the Irish Celts, but with a ninth-century European custom called souling. On November 2, All Souls Day, early Christians would walk from village to village begging for "soul cakes," made out of square pieces of bread with currants. The more soul cakes the beggars would receive, the more prayers they would promise to say on behalf of the dead relatives of the donors. At the time, it was believed that the dead remained in limbo for a time after death, and that prayer, even by strangers, could expedite a soul's passage to heaven.
The Jack-o-lantern custom probably comes from Irish folklore. As the tale is told, a man named Jack, who was notorious as a drunkard and trickster, tricked Satan into climbing a tree. Jack then carved an image of a cross in the tree's trunk, trapping the devil up the tree. Jack made a deal with the devil that, if he would never tempt him again, he would promise to let him down the tree.
According to the folk tale, after Jack died, he was denied entrance to Heaven because of his evil ways, but he was also denied access to Hell because he had tricked the devil. Instead, the devil gave him a single ember to light his way through the frigid darkness. The ember was placed inside a hollowed-out turnip to keep it glowing longer.
The Irish used turnips as their "Jack's lanterns" originally. But when the immigrants came to America, they found that pumpkins were far more plentiful than turnips. So the Jack-O-Lantern in America was a hollowed-out pumpkin, lit with an ember.
So, although some cults may have adopted Halloween as their favorite "holiday," the day itself did not grow out of evil practices. It grew out of the rituals of Celts celebrating a new year, and out of Medieval prayer rituals of Europeans. And today, even many churches have Halloween parties or pumpkin carving events for the kids. After all, the day itself is only as evil as one cares to make it.


ภาคภาษาไทย

วันฮาโลวีน
ที่ฉลองกันในปัจจุบันนี้เชื่อว่ามีที่มาจากวันฉลองปีใหม่ของชาวเซลท์ในวันที่ 1 พฤศจิกายนที่เรียกว่า Samhain คำนี้หมายถึงวันสิ้นสุดฤดูร้อนและเป็นชื่อของเทพเจ้าแห่งความตายด้วย วันนี้จะเป็นวันที่เส้นกั้นเขตแดนระหว่างคนเป็นกับคนตายเปราะบางมากที่สุดและเหล่าวิญญาณจะออกมาปะปนกับผู้คนบนโลกมนุษย์ได้ ค่ำคืนวันที่ 31 ตุลาคมซึ่งเป็นคืนก่อนวันฉลอง Samhain จะเรียกวิญญาณของผู้ที่ตายในปีนั้นทั้งหมดขึ้นมาปรากฎตัวบนโลก บ้างก็ว่าเพื่อให้ผู้ตายไปเยี่ยมญาติ บ้างก็ว่าเพื่อให้ผู้ที่ถูกพิพากษาให้เข้าสิงสถิตในร่างสัตว์ขึ้นมาหาร่างใหม่ นอกจากนี้คืนดังกล่าวจะเป็นคืนเฉลิมฉลองการสิ้นสุดฤดูเก็บเกี่ยวและอาจมีการนำสัตว์หรือพืชผลมาบูชายัญให้กับเหล่าภูติผีและวิญญาณด้วย หลังจากคืนนั้นไฟทุกดวงจะถูกดับและจุดขึ้นใหม่ด้วยไฟศักดิ์สิทธิ์ของชาวเซลท์ ในสมัยต่อชาวโรมันคาทอลิกต้องการกำจัดพิธีเฉลิมฉลองของกลุ่มชนนอกศาสนาคริสต์เหล่านี้ สันตะปาปา Gregory ที่ 4 ได้กำหนดวันที่ 1 พฤศจิกายนให้เป็นวันเฉลิมฉลอง All Saints Day หรือ All Hallows Day สำหรับชาวคริสต์เพื่อระลึกถึงนักบุญและผู้ที่เสียชีวิตไปแล้ว แต่การเฉลิมฉลองในคืนวันที่ 31 ตุลาคมหรือ Hallow's Eve ก็ยังคงอยู่มาจนถึงปัจจุบันแต่ชื่อเรียกได้เพี้ยนไปเป็น Halloween ส่วนการฉลองก็กลายมาเป็นวันเล่นสนุกสำหรับวัยรุ่นด้วยการแต่งตัวเลียนแบบภูติผีหรือวิญญาณ รวมทั้งการทำตะเกียงฟักทอง และการเล่น trick or treating ในปัจจุบัน

ตำนานตะเกียงฟักทอง

เป็นเรื่องเล่าโบราณเรื่องหนึ่งซึ่งกล่าวถึงที่มาของชายชาวนาจอมเจ้าเล่ห์ชื่อ แจ็ค ในสมัยของเขาซาตานจะออกตระเวนขอพืชผลจากชาวบ้าน ซึ่งไม่มีบ้านไหนที่กล้าปฏิเสธเพราะกลัวต้องคำสาบของซาตานนั่นเอง แต่การขู่เข็ญของซาตานใช้กับแจ็คไม่ได้ เขาไม่กลัวและไม่เคยหยิบยื่นอะไรให้ซาตานเลย วันหนึ่งซาตานจึงแอบมาสำแดงตนให้แจ็คเห็นหวังจะให้เขาเปลี่ยนใจหันมาเกรงกลัวซาตาน แต่เหตุการณ์กลับเป็นตรงข้าม แจ็คใช้อุบายหลอกล่อจนซาตานติดกับดักหนีไปไหนไม่ได้ แจ็คไม่ยอมปล่อยซาตานจนกว่ามันจะรับปากว่าเมื่อเขาตายแล้วจะไม่นำวิญญาณเขาลงนรกเด็ดขาด ซาตานไม่มีทางเลือกจึงต้องรับปาก เมื่อแจ็คเสียชีวิตลงด้วยความเป็นคนชั่วเขาจึงไม่ได้ไปสวรรค์ วิญญาณเขาล่องลอยไปยังปากทางนรกและพบกับซาตานคู่อริเก่าอีกครั้ง ตามสัญญาที่ให้ไว้ ซาตานปล่อยวิญญาณของแจ็คไป พร้อมแสงไฟส่องนำทางให้กับวิญญาณแจ็คที่ต้องเร่ร่อนไม่มีที่ไปอย่างนั้นตลอดกาล ทุกคืนฮาโลวีนวิญญาณของแจ็คจะระหกระเหินไปในความมืดพร้อมแสงไฟส่องที่ครอบด้วยหัวผักกาด ต่อมาเมื่อตำนานนี้เข้ามาในอเมริกาก็มีการเปลี่ยนมาใช้ผลฟักทองแทนจนทุกวันนี้


การเล่น Trick-or-treating

การเย้าแหย่ในคืนฮาโลวีนโดยการแต่งตัวเลียนแบบผีหรือสวมหน้ากากผีเป็นธรรมเนียมที่ผสมผสานจากหลายๆ เรื่องเล่าในอดีต ในสมัยโบราณเมื่อเกิดโรคระบาดหรือเรื่องร้ายๆ ขึ้น คนในหมู่บ้านจะใส่หน้ากากผีเพื่อขับไล่ภูติผีปีศาจออกไป ในขณะที่ทางแถบไอร์แลนด์หรืออังกฤษการเล่นนี้อาจเริ่มมาจากชาวนาหรือคนยากจนออกมาเคาะประตูบ้านตามหมู่บ้านเพื่อขออาหารหรือขนมต่างๆ ส่วนการเล่น Trick-or-treating ของอเมริกาคาดว่าจะมีที่มาพิธีสวดให้วิญญาณในช่วงต้นคริสต์วรรษ ในวันชุมนุมวิญญาณชาวคริสต์จะตื่นแต่เช้า และเดินขอ "soul cakes" ที่ทำจากขนมปังลูกเกดสี่เหลี่ยม ยิ่งได้ขนมดังกล่าวมากเท่าผู้ขอก็จะสวดมนต์ภาวนาให้ญาติที่เสียชีวิตของผู้บริจาคขนมให้มากขึ้นเท่านั้น สมัยนั้นเชื่อกันว่าผู้ที่ตายแล้วยังคงอยู่ที่บริเวณรอบนอกของนรกอยู่พักหนึ่ง จนกว่าจะมีผู้สวดมนต์ภาวนาให้ แม้จะเป็นคนแปลกหน้าก็ตาม คำสวดดังกล่าวจะช่วยนำทางวิญญาณขึ้นสู่สรวงสวรรค์ได้ ต่อมาการเล่นนี้ค่อยๆ เปลี่ยนไปเป็นการแต่งตัวผีหลอกของเด็กๆ เพื่อหลอกเพื่อนบ้าน ตอนหลังจึงมีการเพิ่ม treats คือ การขออาหารหรือเงินเข้าไปด้วยเพื่อแลกกับการถูกหลอกหลอน

Je pense à toi


ปิดเทอมตั้งนานแล้ว
คิดถึงทุกคนจังเลย
เพื่อนๆหลายคนก็คงจะเหนื่อกับการเรียนพเศษใช่มะ

วันศุกร์ที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2550

จาสอบแล้วน้า


นี่ก็ใกล้วันสอบมากๆแล้วนะ ทุกคนเป็นไงบ้างเตรียมพร้อมกันรึยัง อ่านหนังสือไปถึงไหนกันแล้ว
เราเป็นกำลังใจให้ทุกคนนะ ตั้งใจอ่านหนังสือล่ะ

วันเสาร์ที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2550

วันเสาร์ที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2550

รูบสวยๆ

Les histoires les histoires




L’association nationale du porc britannique a proposé Winnie, une jolie cochonne rose et séduisante, comme candidate à la mairie de Londres. Hélas, cette candidature n’a pas été acceptée. Dommage car Winnie avait pour devise « cochon qui s’en dédit ». Devise que nos hommes politiques ne feraient pas mal de mettre à leur répertoire. Et surtout à s’y tenir.

Le 21 juin 1791, le roi Louis XVI, la reine Marie-Antoinette, leurs enfants et leur suite quitte Paris secrètement. Ils fuient la révolution. Le cortège s’arrête à Sainte-Menehould, dans une auberge. L’Histoire prétend que c’était pour changer les chevaux. La petite histoire prétend qu’en fait le roi ayant faim s’est arrêté pour manger le fameux pied de porc, spécialité culinaire de la ville. Comme quoi la gourmandise est un vilain défaut qui peut parfois vous faire perdre la tête !

Dans son « florilège des mots de l’amour » paru aux éditions Plon, Robert Merle indique à l’expression âge cochon : il s’agit pour les Mauriciens, nous explique Loïc Depecker ( le ziboulateur enchanté – Seuil 1999), de désigner ici l’âge ingrat, autrement dit celui de la puberté. Peut-être après tout n’ont-ils pas, là-bas, de vieux cochons…

Toujours dans le même ouvrage, le mot cochonnerie est expliqué ainsi : attesté à la fin du XVIIe siècle dans le sens de pacotille, chose sale ou mal fichue, le mot ne tarde pas à désigner aussi les paroles et actes réputés obscènes. « Il a pour singularité dans les goûts d’aimer et la vieillesse et tout ce qui lui ressemble pour la cochonnerie » (Sade les 120 journées de Sodome ou l’école du libertinage – 1785). Plus tard viendront les cochoncetés.

วันเสาร์ที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2550

ควันหลงกีฬาสี ' 50


La Garonne

La Garonne s'appelle en gascon montgnard era Garona /eɾa garunɵ/, un nom commun signifiant la rivière.

On l'écrivait Garumna du temps de Jules César, un nom qui s'analyse par le radical garr- 'pierre' et le suffixe -unn / -onna. Sa signification serait 'rivière caillouteuse', 'torrent'.

La Garonne se forme au Val d'Aran dans les Pyrénées espagnoles.

D'après Norbert Casteret, sa source principale se trouve dans le massif de la Maladeta, en Aragon, où elle s'engouffre au Trou de Tòro pour rejoindre sa vallée par une résurgence aux Uelhs de Joeu. Pour les Aranais, la véritable source, l'Uelh dera Garona, se situe au Plã de Béret à proximité du port de la Bonaïgua. Cette branche serait en effet plus longue que le cours officiel et son débit plus important.

Le fleuve se dirige au nord, rentre en France au Pont du Roy à Fos, reçoit la Pique descendue des massifs de Luchon. Il quitte les Pyrénées après avoir arrosé le site antique de Saint-Bertrand-de-Comminges, puis il reçoit la Neste change de direction pour se diriger vers le nord-est en une large vallée (plaine de rivière), il arrose Saint-Gaudens franchit les Petites Pyrénées entre Saint-Martory et Martres-Tolosane, reçoit le Salat descendu de Saint-Girons.

La vallée très large s'étage en terrasses sur la rive gauche. Le fleuve traverse Muret, reçoit l'Ariège à Portet sur Garonne pour atteindre Toulouse où il change de direction en se dirigeant au nord ouest pour se jeter dans l'Atlantique à son embouchure en commun avec la Dordogne où ils forment l'estuaire de la Gironde.

Entre Toulouse et Bordeaux le fleuve traverse Agen et reçoit ses principaux affluents sur la rive droite, le Tarn et le Lot issus du système hydrologique du Massif central.

Le fleuve est navigable de l'océan à Langon. Un canal latéral a été construit au XIXe siècle pour joindre Langon (Castets-en-Dorthe) à Toulouse (liaison avec le Canal du Midi de Toulouse à Sète).

Des Pyrénées à Toulouse le fleuve est aménagé pour l'industrie hydroélectrique. Plus récemment deux centrales nucléaires sont implantées sur les rives, au Blayais (33) et à Golfech (82).

A Bordeaux le fleuve est très large et sous l'influence des marées. A marée haute se forme un mascaret qui remonte le fleuve

วันศุกร์ที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2550

MoM and AoM


วันแม่ปีนี้ก็ยังรักแม่เหมือนเดิมเลยนะ ถ้าเคยทำให้แม่ต้องเสียใจ อ๋อมอยากขอโทษนะ
"หนูขอสัญญาว่า
"หนูจะเป็นเด็กดี"

มารู้จักงานกีฬามหาวิทยาลัยโลกกันเถอะ


"universiade" เกิดจากการรวมกันของคำว่า "university" และคำว่า "olympiad" แปลความหมายได้ว่า มหกรรมกีฬาระดับนักศึกษา ที่มีความเทียบเท่าการแข่งขันกีฬาโอลิมปิค ปัจจุบันมีการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยโลกฤดูร้อน และฤดูหนาว ทุกๆ 2 ปี ซึ่งอยู่ในปี พ.ศ.2550 นี้ ในประเทศไทยได้รับเกียรติให้เป็นเจ้าภาพ ในการจัดการแข่งขันกีฬามหาลัยโลกฤดูร้อน ครั้งที่ 24 ระหว่างวันที่ 8-18 สิงหาคม โดยมีการแข่งขันกีฬาหลักทั้งหมด 10 ชนิด ตามที่ fisu กำหนด และกีฬาเลือกอีก 5 ชนิด ที่ประเทศเจ้าภาพเป็นผู้เลือก โดยมีประเทศที่ร่วมแข่งขันกว่า 170 ประเทศ และนักกีฬากว่า 8,500 คน เข้าร่วมในการแข่งขัน






เส้นสายทั้ง 5 สี ร้อยเรียงในรูปตัว U เปรียบได้ดังเส้นสายแห่งการถ่ายทอดประสบการณ์ การแลกเปลี่ยนความรู้ และ วัฒนธรรม ระหว่างตัวแทนและนักกีฬาจากมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ใน 5 ทวีป ทั่วโลก ทั้งหมดรวมกันเป็นหนึ่งเดียว พุ่งม้วนเข้าสู่สัญลักษณ์ลวดลายสีเหลืองทอง อันเป็นเอกลักษณ์ของชาติไทย เปี่ยมล้นไปด้วยความปิติยินดี และ ความภาคภูมิใจที่ได้รับเกียรติให้ เป็นศูนย์กลางแห่งการถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม จึงเป็นที่มาของคำว่า “ALL BECOME ONE”
เนื่องในปี พ.ศ.2550 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงเจริญพระชนมพรรษาครบ 80 พรรษา เพื่อเป็นการร่วมเฉลิมฉลองแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ จึงเลือก “กระต่าย” อันเป็นนักษัตรปีพระราชสมภพ เป็นสัญลักษณ์นำโชคในการแข่งขันครั้งนี้
กระต่าย เป็นสัญลักษณ์ที่แสดงถึงความว่องไว เฉลียวฉลาด อ่อนโยน พร้อมต้อนรับนักกีฬา ทุกชาติด้วยรอยยิ้มและมิตรภาพ ทั้งรูปร่างหน้าตา สีสัน และ กิริยาท่าทาง ล้วนแสดงออกถึงความอ่อนน้อมถ่อมตน อันเป็นหนึ่งในเอกลักษณ์ของวัฒนธรรมไทยที่สืบต่อกันมายาวนาน

"โยเกิร์ต" ทำมาจากอะไร



เพื่อนๆหลายคนคงรู้ดีว่า "โยเกิร์ต" เป็นผลิตภัณฑ์ที่ทำจากนมชนิดต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น นมสด นมพร่องมันเนย หรือ นมถั่วเหลือง แต่เชื่อว่าคงไม่มีใครทราบว่า "โยเกิร์ต" ในต้นตำรับคืออาหารที่ทำมาจากน้ำนมแกะ

จากบันทึกหลายๆแห่งเขียนตรงกันว่าโยเกิร์ตเป็นอาหารที่รวมอยู่ในโภชนาการของชนเผ่าทราเซียน อันเป็นบรรพบุรุษเก่าแก่ที่สุดของชาวบัลแกเรีย โดยชาวทราเซียนนี้ทำมาหากินด้วยการประกอบอาชีพเลี้ยงแกะ

สำหรับคำว่า yoghurt น่าจะมาจากการผสมคำกันในภาษาทราเซียน ระหว่างคำว่า yog ที่แปลว่าหนาหรือข้น และ urt ที่แปลว่า น้ำนม เมื่อนำมารวมกันจึงเกิดคำว่า yoghurt ที่แปลอย่างตรงๆว่าน้ำนมข้นนั่นเอง

ทั้ งนี้ในยุคโบราณราวศตวรรษที่ 4 ถึง 6 ก่อนคริสตกาล ชาวทราเซียนมีวิธีการเก็บรักษาน้ำนมไว้ในถุง ที่ทำจากหนังแกะ เวลาไปไหนต่อไหนก็เอาถุงนี้คาดเอวไว้ ความอบอุ่นจากร่างกายร่วมกับจุลชีพที่มีอยู่ในหนังแกะ ช่วยให้เกิดปฏิกิริยาการหมักขึ้น น้ำนมในถุงก็กลายสภาพเป็นโยเกิร์ตไป

ขณะที่นักวิทยาศาสตร์บางคนสันนิษฐานว่า สิ่งที่มีมาก่อนโยเกิร์ตน่าจะเป็นน้ำนมหมักที่ใช้ดื่ม เรียกว่า คูมิส (Kumis) น้ำนมชนิดนี้ทำมาจากน้ำนมม้า ที่อาจมีต้นกำเนิดมาจากชนเผ่าเรร่อนที่อพยพย้ายถิ่นฐานจากทวีปเอเชียมายังคาบสมุทรมัลข่าน ในปี ค.ศ.681

แม้ว่าโยเกิร์ตจะถือกำเนิดในบัลแกเรียมานาน แต่ในยุโรปตะวันตกปรากฏบันทึกเกี่ยวกับโยเกิร์ตของศาสตราจารย์คริสโต โชมาคอฟ รายงานไว้ในหนังสือ Bulgarian Yoghurt-Health and Longerity ที่ระบุว่าในศตวรรษที่ 16 เมื่อกษัตริย์ฟรานซิสที่ 1 แห่งฝรั่งเศส ทรงประชวร มีพระอาการปั่นป่วนในท้อง แพทย์ชาวตุรกีผู้หนึ่งจึงทำการรักษาโดยให้เสวยโยเกิร์ตที่นำมาจากบัลแกเรีย

ปิดท้ายด้วยการให้ความรู้เพิ่มเติมกับผู้อ่านสักนิดว่าโยเกิร์ต เป็นผลิตภัณฑ์ที่ทำจากนม โดยการใช้แบคทีเรีย แลคโตบาซิลัส เอซิโดซิส และ สเตรปโตคอคคัส เทอร์โมฟิลลัส เป็นหลักใส่ลงไปหมักผลิตภัณฑ์นมต่างๆ แบคทีเรียเหล่านี้ช่วยย่อยน้ำตาลแลคโตสในนมให้เป็นกรดแลคติค ทำให้มีภาวะกรดและมีรสเปรี้ยว ก่อนจะมีการพัฒนารสชาติให้ถูกปากผู้บริโภคเรื่อยมา

วันจันทร์ที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2550

ไส้กรอก กับ ฮอตด็อก ต่างกันอย่างไร

เริ่มต้นที่ไส้กรอก อาหารเลิศรสที่ได้จากการนำเนื้อบด ไม่ว่าจะเป็นเนื้อหมู เนื้อวัว เนื้อไก่ หรือพิสดารขึ้นไปอีก เช่นเนื้อแกะ เนื้อแพะ ผสมเข้ากับมันของเนื้อสัตว์ สมุนไพร และเครื่องเทศ หรือเครื่องปรุงอื่นๆ ตามความชื่นชอบของแต่ละท้องถิ่น แล้วนำมากรอกใส่ลำไส้ของสัตว์ และนำไปรมควัน
ทั้งนี้ ชาวสุเมเรียนซึ่งคือชาวอิรักในปัจจุบันน่าจะเป็นชนชาติแรกที่ประกอบอาหารประเภทนี้ขึ้นมาเมื่อประมาณ 3,000 ปีก่อนคริสตกาล นอกจากนี้ยังพบหลักฐานว่ามีการผลิตไส้กรอกในจีนเมื่อ 589 ปีก่อนคริสตกาล และไส้กรอกยังปรากฏอยู่ในวรรณคดียุคคลาสสิก เดอะ โอดิสซี ของกวีเอกโฮเมอร์อีกด้วย

ส่วนฮอตด็อกก็คือไส้กรอกที่ปรุงจนสุกหรือผ่านการรมควันแล้ว ต่างจากไส้กรอกที่จะขายแบบสุกหรือดิบก็ได้ และฮอตด็อกมักทำมาจากเนื้อหมู หรือเนื้อวัว หรือเนื้อทั้งสองอย่างผสมกัน และมักจะมีรูปร่างและรสชาตินุ่มและชุ่มฉ่ำกว่าไส้กรอกส่วนใหญ่
ฮอตด็อกยังถูกเรียกชื่ออื่นแตกต่างไปตามท้องถิ่นอีก เช่นเรียกว่า แฟรงก์เฟอร์เตอร์ หรือสั้นๆ ว่าแฟรงก์ (ได้รับชื่อนี้หลังจากชื่อเมืองแฟรงก์เฟิร์ตของเยอรมนี) และเวียนเนอร์หรือวีนนี่ (ชื่อเมืองเวียนนา ของออสเตรีย ซึ่งชื่อภาษาเยอรมันคือ เวียน)
นอกจากนี้เรายังเรียกไส้กรอกที่วางอยู่บนขนมปังที่มีรูปร่างเหมือนไส้กรอกนุ่มๆ ร้อนๆ ผ่ากลาง มีผักเป็นเครื่องเคียง ทั้งหอมใหญ่ มะเขือเทศ แตงกวาดอง และโรยหน้าด้วยซอสหรือเครื่องปรุงอื่น เช่น มายองเนสและมัสตาด ซึ่งเป็นอาหารยอดนิยมของชาวอเมริกันว่าฮอตด็อกเช่นกัน
และที่น่าสนใจอีกเรื่องเกี่ยวกับของกินประเภทนี้คือ มีการแข่งขันกินฮอตด็อกซึ่งทาเครุ โคบายาชิจอมเขมือบจากแดนอาทิตย์อุทัยเพิ่งจะทำลายสถิติกินฮอตด็อกเร็วที่สุดในโลกของตัวเองในรายการนาธานเฟมัส ณ นครนิวยอร์กไปเมื่อ 4 กรกฎาคมที่ผ่านมานี้เอง โดยในครั้งนี้เขาเขมือบฮอตดอกช็อคสายตากรรมการเข้าไปได้ถึง 53 เศษ 3 ส่วน 4 ชิ้นทีเดียว

วันเสาร์ที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2550

ดอกไม้ที่บ้านบานแล้ว!!!!!



หลังจากที่รอคอยมานาน ตอนนี้ดอกไม้ก็ได้เวลาบานแว้ว
เค้าเรียกว่าต้นอะไรนะ??? อ๋อ!!เค้าเรียกว่าต้นว่าน 4 ทิศ
จริงๆแล้วดอกมันจะหันไปดอกละทิศ...แต่นี้มันไม่ค่อหันทำไงดีล่ะ

Taj Mahal


Le Taj Mahal (en hindi ताज महल) est situé à Âgrâ, au bord de la rivière Yamunâ dans l'État de l'Uttar Pradesh en Inde. C'est un mausolée construit par l'empereur moghol Shâh Jahân en mémoire de son épouse Arjumand Bânu Begam, aussi connue sous le nom de Mumtaz Mahal, qui signifie en persan « la lumière du palais ». Elle meurt le 17 juin 1631 en donnant naissance à leur quatorzième enfant alors qu'elle allait à la campagne. Elle trouve une première sépulture sur place dans le jardin Zainabad à Burhampur.

La construction commence en 1632. Cependant, il demeure une polémique sur la date exacte de la fin des travaux. Le chroniqueur officiel de Shah Jahan, Abdul Hamid Lahori indique que le Taj Mahal est achevé fin 1643 ou début 1644. Mais à l'entrée principale une inscription indique que la construction s'est achevée en 1648. L'État de l'Uttar Pradesh, qui a célébré officiellement le 350e anniversaire de l'édifice en 2004, affirme quant à lui que les travaux se sont achevés en 1654. Parmi les 20'000 personnes qui ont travaillé sur le chantier, on trouve des maîtres artisans venant d'Europe et d'Asie centrale. L'architecte principal fut Usad Ahmad de Lahore. Le 7 juillet 2007, le célèbre monument a été désigné comme l'une des sept nouvelles merveilles du monde par un organisme non officiel et à caractère commercial (NewOpenWorld Foundation

ก็ไม่กล้าแปลอะกลัวผิด เลยเอาที่มีอยู่แล้วมาฝาก

ทัชมาฮาล สุสานหินอ่อนที่ผู้คนเชื่อว่าเป็นสถาปัตยกรรมแห่งความรักที่สวยที่สุดในโลก ถูกสร้างขึ้นโดยกษัตริย์อินเดียผู้มีรักมั่นคงต่อพระมเหสีของพระองค์ เจ้าชายขุร์รัม ชึ่งต่อมาคือจักรพรรดิชาห์ ชหาน พระราชสมภพในปี พ.ศ. 2135 (ค.ศ. 1592) พระบิดา คือ จักรพรรดิ ชาห์ ชหานชีร์ จักรพรรดิองค์ที่สี่แห่งราชวงศ์โมกุล แห่งอินเดีย ตามตำนานกล่าวว่า เจ้าชายขุร์รัม ได้พบกับ อรชุมันท์ พานุ เพคุม ธิดาของรัฐมนตรี เมื่อพระองค์ มีพระชนมายุ 14 พรรษา พระองค์ทรงหลงใหลและหลงรักนาง เจ้าชายขุร์รัมจึงซื้อเพชรด้วยเงิน 10,000 รูปีและบอกแก่พระบิดาของพระองค์ว่าพระองค์มีความประสงค์ที่จะแต่งงานกับบุตรสาวของรัฐมนตรี พิธีอภิเษกถูกจัดขึ้นหลังจากนั้น 5 ปี ในปี พ.ศ. 2155 (ค.ศ. 1612) จากนั้นมาทั้งสองก็มิเคยอยู่ห่างกันอีกเลย

หลังจากที่พระเจ้าชาห์ ชหาน ขึ้นครองราชบัลลังก์ในปี พ.ศ. 2171 พระองค์มอบความไว้วางใจแก่ อรชุมันท์ พานุ เพคุม และเรียกนางว่า มุมตัซ มาฮาล "อัญมณีแห่งราชวัง" พระมเหสีติดตามพระองค์ แม้แต่ในสนามรบ แนะนำพระองค์ในเรื่องราชการของประเทศ และพระองค์ซาบซึ้งในน้ำพระทัยของพระมเหสียิ่งนัก ครั้นในปี พ.ศ. 2174 (ค.ศ. 1631) พระมเหสีมุมตัซสิ้นพระชนม์ หลังจากให้กำเนิดทายาทองค์ที่ 14 การสิ้นพระชนม์ของพระมเหสีทำให้พระเจ้าชาห์ ชหานโศกเศร้าอยู่ถึงสองทศวรรษ ราชสมบัติส่วนใหญ่สูญเสียไปเพื่อการสร้างอนุสรณ์แห่งความรักของทั้งสองพระองค์

ในปี พ.ศ. 2200 (ค.ศ. 1657) พระเจ้าชาห์ ชหานทรงพระประชวร และในปี พ.ศ. 2201 (ค.ศ. 1658) พระโอรส โอรังเซบ จับพระเจ้าชาห์ ชหานขัง และขึ้นครองราชบัลลังก์เเทน พระองค์ถูกกักขังอยู่ถึง 8 ปี จนกระทั่งสวรรคตในปี พ.ศ. 2209 (ค.ศ. 1666) ตามตำนานกล่าวว่าให้วันสุดท้ายของชีวิตพระองค์ใช้เวลาทั้งวันในการจ้องมองเศษกระจกที่สะท้อนภาพของทัชมาฮาล และสิ้นพระชนม์ด้วยเศษกระจกในกำมือ พระเจ้าชาห์ ชหานถูกฝังในทัชมาฮาล เคียงข้างมเหสีซึ่งพระองค์ไม่เคยลืม มีบางคนกล่าวว่าพระเจ้าชาห์ ชหาน มิได้ประสงค์ที่จะถูกฝังร่วมกับประมเหสี แต่พระองค์มีแผนการที่จะสร้างสุสานอีกแห่งด้วยหินอ่อนสีดำ เพื่อเป็นสุสานของพระองค์ แต่ผู้รู้หลายท่านเชื่อว่าพระองค์ประสงค์ที่จะถูกฝังเคียงข้างพระนางมุมตัซ มาฮาล
ขนาด
ทัชมาฮาลถูกพิจารณาให้เป็นหนึ่งในเจ็ดสิ่งมหัศจรรย์ของโลกในยุคใหม่ ทัชมาฮาลตั้งอยู่ในสวนริมฝั่งแม่น้ำยมุนา ในเมืองอาครา ส่วนที่มีชื่อเสียงที่สุด คือ หลุมศพของพระนางมุมตัซ มาฮาล ซึ่งถูกสร้างด้วยหินอ่อนสีขาว ศิลาแลง ประดับลวดลายเครื่องเพชร พลอย หิน โมราและเครื่องประดับจากมิตรประเทศ ได้รับคำรับรองว่าสร้างขึ้นด้วยสัดส่วนที่วิจิตรและงดงามที่สุด กว้างยาวด้านละ 100 เมตร สูง 60 เมตร มีผู้สร้างและออกแบบร่วม 20,000 คน การก่อสร้างกินเวลานานถึง 22 ปี ทัชมาฮาลมีเนื้อที่ประมาณ 42 เอเคอร์ เป็นที่ตั้งของมัสยิด มีหออาซาน (หอสูงสำหรับร้องเเจ้งเวลาทำนมาซ)และมีสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ นายช่างที่ออกแบบถูกประหารชีวิตเพื่อมิให้ไปออกแบบสถาปัตยกรรมใด ๆ ที่สวยกว่าได้ ส่วนหัวของทัชมาฮาลมีลักษณะโดมที่เรียกว่าโอเนียนโดม

วันเสาร์ที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2550

Bon anniversaire !!



วันที่ 21 เป็นวันเกิดของใครน้า??
สุขสันต์วันเกิดนะจ๊ะอุษา(สาหร่าย)มีความสุขมากๆนะ

5/7 สู้ สู้

ช่วงนี้ก็ต้องสอบหลายวิชาเลย เมื่อวันศุกร์ก็เพิ่งสอบคณิต
(เป็นวิชาโปรดของพวกเราทุกคนเลยใช่รึเปล่าน้า)แล้วก็สังคมด้วย
หวังว่าคะแนนที่ออกมาคงจะทำให้ยังคงยิ้มได้อยู่นะ
เดี๋ยววันจันทร์เราก็ต้องสอบฝรั่งเศสกับอังกฤษ เป็นกำลังใจให้ทุกคนเลยนะ
ตั้งใจทำข้อสอบ เดี๋ยววันอังคารนี้เค้าก็ต้องพูดภาษาไทยหน้าห้องแล้ว ตื่นเต้นจัง
อยากให้ทุกคนเเป็นกำลังใจให้ด้วยนะ สู้ สู้ สู้ตาย

Le maniement des baguettes



SAVOIR-VIVRE

Le maniement des baguettes

Tenez la baguette au deux tiers de sa longueur maintenez-la entre l'index et le pouce, et laissez reposer la baguette sur le petit doigt

Tenez fermement la seconde baguette avec le pouce et le majeur. C'est elle qui pince les aliments.

Vous comprendrez pourquoi la viande ou les légumes sont toujours coupés en morceaux : pouvoir les porter à la bouche au moyen des baguettes

Ne laissez pas tomber vos baguettes par terre, ni les croiser sur votre bol, ou les diriger vers le ciel ou vers quelqu'un, cela porte malheur. Quand vous avez fini de manger, posez-les sur la table.


À table

L'invité d'honneur se trouve en face du maître de maison qui est placé le dos à la porte. Les femmes mariées s'asseyent à la droite de leur mari.

Au début du repas, l'invité doit en premier saisir les baguettes et attendre que la maîtresse ou le maître de maison commence à manger et prononce les mots "seck fan" (littéralement " mangeons du riz").
La politesse veut qu'on mange lentement. L'invité d'honneur se voit toujours proposer les morceaux de choix.

N'ayez pas peur d'approcher votre bol au bord des lèvres et de pousser le riz vers votre bouche. Il est plus facile de le manger de cette manière que de le prendre par grain . Il n'est pas incongru de faire du bruit en mangeant, par contre on évitera de se moucher.

Si l'on boit du thé, chaque convive le servira à tour de rôle, et on tapotera du bout des doigts sur la table en guise de remerciements.
(symbole de révérence)

Selon Le Livre de l'Étiquette (écrite il y a 3000 ans), on ne doit pas remuer le riz dans son bol, manger trop vite, trop remplir son bol, choisir les morceaux dans l'assiette commune.

C'est l'invité d'honneur qui devra se lever pour donner le signal du départ.

วันเสาร์ที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2550



Cool Slideshows!

Bordeaux

Bordeaux [1] est une ville du sud-ouest de la France, chef-lieu de la région Aquitaine et du département de la Gironde. La commune est peuplée de 230 600 habitants (2005), tandis que l'air urbaine (Bordeaux-Arcachon-Libourne) compte 1 250 000 habitants. Elle est traversée par la Garonne. Ses habitants sont appelés les Bordelais.

La ville est connue dans le monde entier pour ses vignobles, surtout depuis le XVIIIe siècle, qui fut pour elle un véritable âge d'or. Capitale de l'ancienne Guyenne (approximativement l'Aquitaine actuelle), Bordeaux fait partie de la Gascogne et elle est située en bordure des Landes de Gascogne. Une partie de la ville, le port de la Lune, est classée depuis juin 2007 au Patrimoine Mondial de l'Humanité par l'UNESCO pour l'ensemble urbain exceptionnel qu'il représente[2].

วันเสาร์ที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2550

France d'outre-mer



Des collectivités françaises en outre-mer ont des statuts particuliers liés à leur plus forte autonomie : les collectivités de Mayotte et de Saint-Pierre-et-Miquelon ont une administration locale unique combinant les fonctions généralement conférées aux régions et départements métropolitains. Toutefois, Mayotte évolue depuis 2001 vers le statut de département d’outre-mer, pour une plus forte intégration. Ces deux collectivités, bien que situées hors de l’Union européenne, utilisent l’euro comme monnaie.

Les autres collectivités d’outre-mer du Pacifique ont des statuts d’autonomie plus étendue où cohabitent l’administration territoriale régalienne et l’administration coutumière (Polynésie française, Nouvelle-Calédonie, Wallis-et-Futuna). Bien que possédant toujours une division et une administration communale (sauf à Wallis-et-Futuna où ce sont les villages coutumiers qui jouent ce rôle au sein des trois royaumes coutumiers), ces collectivités ne sont pas découpées en départements, mais en provinces (ou royaumes) et en villages (sur les bases coutumières) ayant des fonctions normalement affectées aux départements et communes en métropole et dans les régions d’outre-mer, notamment en matière de justice, d’éducation ou de citoyenneté. De plus, la fonction de région y est transférée à un gouvernement local où sont représentés les autorités coutumières et régaliennes, ainsi qu’un administrateur de la République. Ces collectivités, hors de l’Union européenne, utilisent
le franc pacifique comme monnaie commune (liée à l’euro depuis 1999, au lieu du franc français). Il faut noter que la Nouvelle-Calédonie dispose d’un statut particulier transitoire spécifique avant un futur référendum devant déterminer si le territoire demeurera dans la République française avec une large autonomie, ou deviendra indépendant (avec une éventuelle association).

D’autres terres françaises en outre-mer peu ou pas habitées sont gérées à distance depuis un autre territoire habité, par un administrateur désigné par l’État au nom de la république : les îles Éparses (dans l’océan Indien, dispersées autour de Madagascar, ou près de Mayotte ou Maurice) et les Terres australes et antarctiques françaises (au Sud de l’océan Indien) sont administrées depuis la Réunion, et Clipperton (à l’Est de l’océan Pacifique, au large du Mexique) est gérée depuis la Polynésie française. Ces terres n’ont pas d’administration locale propre.

วันเสาร์ที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2550

มาดูรูปกันนะ



create your own slideshow

เธอบรรจุคำว่า “ เพื่อน “ เป็น ” สิ่งมีค่าต่อชีวิต” ในลำดับที่เท่าไหร่ ?

เพื่อน คือ คนแปลกหน้าที่ฟ้าส่งมาให้เรารักมัน
............คือ คนผ่านตาที่ส่งมาให้เราผูกพัน

Histoire(s) de roses




Rose mythologique
Vénus était amoureuse d'Adonis. A tel point « qu'elle ne se montre plus au ciel. Au ciel elle préfère Adonis ». Un jour, elle vole au secours de son amant blessé par Mars, dieu de la guerre, qui voulait se débarrasser de celui-ci, et s'écorche sur les épines d'un rosier blanc. On retrouve dans l'opposition des deux couleurs, les deux aspects de l'amour qu'incarne Vénus. Le blanc symbolise la pureté, l'innocence et la sagesse divine, tandis que le sang est lié l'énergie vitale de la fécondité et de la maternité, ainsi qu'au désir et au plaisir sexuel.

Rome
Dans la Rome antique, on décore de roses peintes les murs de certaines pièces. Lorsque les invités s'y retrouvent ou sont conviés dans un endroit où une rose est accrochée, le message est clair. Ils savent qu'il ne faut pas divulguer ce qui leur sera confié, de la vient l'expression sub rosa.

Perse
La rose est la fleur préférée des poètes persans. Elle suscite de nombreuses métaphores l'assimilant au vin, pour sa couleur et son parfum qui rappellent l'ivresse. La coupe de vin est comme une rose sans épines. D'autres vers la lient au rossignol; les amours de la fleur et de l'oiseau symbolisent la quête de l'union mystique impliquent le sacrifice de soi.

Eglantine
Les églantines sont les ancêtres de la rose. On appelle couramment la plus caractéristique d'entre elles « le rosier des chiens » ce qui est la traduction de rosa canina, son nom en latin botanique : un nom qui vient d'une recette contre la rage, à base de racines de ce rosier sauvage. Avec ses modestes fleurs à cinq pétales, l'églantier est non seulement beau, mais d'une vigueur et d'une rusticité à toute épreuve, il est utilisé depuis le XIXème siècle au moins, dans la multiplication par greffe.

Roses saintes
La rose jour est l'accessoire essentiel dans les miracles qui nourrissent le culte de nombreux saints. Au temps de Fernando 1er de Castille, Sainte Casilde de Burgos se montre bienveillante envers les chrétiens emprisonnés. Furieux, le père surprend sa fille alors qu'elle leur apporte du pain. Le pain se transforme en roses blanches et vermeilles. Le pain que porte Sainte Digue d'Alcala aux nécessiteux se métamorphose aussi en roses. Les grands événements de la vie de Sainte Dorothée sont marqués par les roses. On raconte que son bourreau se convertit, lorsqu'en plein hiver, elle lui apporte trois pommes et trois roses du paradis.

Marie
La fleur devient symbole de pureté lorsqu'il s'agit de Marie, la « rose sans épines ». Le rosaire, ainsi que la rosace des cathédrales, sont aussi des éléments de puzzle où les représentations de la fleur renvoient à Marie, comme d'ailleurs toute utilisation de la rose dans un contexte chrétien peut être considérée comme une référence indirecte à la Vierge.

Le roman de la rose
En Occident, Le Roman de la rose est le premier poème consacré à cette fleur, son thème est l'amour. L'action se déroule dans un jardin allégorique. En se promenant dans cet enclos magique, où les fleurs ont une odeur exquise en toute saison, le héros rencontre des couples d'amants qui chantent et dansent . Il voit refléter dans la Fontaine de Narcisse un bouton de rose et en tombe amoureux. Dotée d'attraits humains, la rose constitue l'image sublimée de la femme, celle qu'il choisit parmi toutes les fleurs. Le héros et poètes est contrarié par d'autres personnages, ou des obstacles, dans sa quête ardue de cueillir la rose.

Le Roman de la rose, Guillaume de Lorris et Jean de Meung, fin du XIIIème siècle

วันอาทิตย์ที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2550

Tomate


L’histoire de la Tomate
Avec près de 13 kg par an et par habitant, la tomate est devenue, cinq siècles après sa découverte, le premier légume fruit consommé en France.

Il était une fois la Tomate
Le mot « Tomate » est une déformation du mot inca « Tomalt ». Découverte par Christophe Colomb en Amérique du Sud au XVe siècle alors qu’il pensait avoir trouvé la route des Indes, la tomate était cultivée par les Incas de la région andine et n’était alors pas plus grosse que notre tomate cerise.

La tomate arrive en Europe un siècle plus tard et s’implante en Espagne et à Naples. Ronde, rouge ou jaune, elle est baptisée pomodoro, « pomme d’or » ou « pomme d’amour ».

Considérée comme un produit vénéneux, elle reste une simple plante ornementale pendant trois siècles. C’est au milieu du XVIIIème siècle que l’on découvre ses vertus de légume fruit. La tomate est alors sur toutes les tables du Sud de l’Europe. Les Provençaux sont les premiers Français à la consommer. Montés dans la capitale pour la fête de la Fédération Nationale du 14 juillet 1790, ils exigent des tomates partout où ils vont.

Le restaurant « Les Trois Frères Provençaux » inscrit les tomates à sa carte et, devant la demande massive des consommateurs, les maraîchers des environs de Paris se mettent à la cultiver, avec succès.

วันเสาร์ที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2550

Cursors from DressUpMyspace.com